Archives 2015

มาทำความรู้จัก Sensor แต่ละประเภท

การทำงานของ Sensor แต่ละประเภท

เซ็นเซอร์สำหรับใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ มีอยู่หลายประเภทการใช้งานด้วยกัน

แบ่งเป็นประเภทหลักๆให้ได้ทำความเข้าใจดังนี้

1.Proximity Sensor

เป็นเซ็นเซอร์ชนิดที่ทำงานโดยไม่ต้องมีการสัมผัสวัตถุ การทำงานมีหน้าที่รับและส่งพลังงาน ดังเช่น สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า

ส่วนใหญ่ใช้ในการตรวจจับ ขนาด ตำแหน่ง ระดับ ส่วนหัวของเซ็นเซอร์จะมีสนามแม่เหล็กความถี่สูง กำหนดความถี่ในกรณีที่มีวัตถุอยู่ในบริเวณที่สนามแม่เหล็กส่งไปถึง จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของค่าเหนี่ยวนำ และเมื่อนำวัตถุออกคลื่นความถี่จะกลับมาเป็นปกติ

2.Photoelectric Sensor

เป็นเซ็นเซอร์ที่ใช้ลำแสงเป็นตัวนำพาในการตรวจจับวัตถุโดยที่ไม่ต้องมีการสัมผัส มีการตอบสนองอย่างรวดเร็ว ระยะการตรวจจับระยะไกลและตรวจจับวัตถุได้หลากหลายประเภท เหมาะกับการทำงานที่ต้องการความรวดเร็วในการตรวจจับโดยไม่มีการสัมผัส มีหลากหลายแบบด้วยกัน

เช่น -โฟโต้เซ็นเซอร์แบบใช้งานคู่กับแผ่นสะท้อน

-โฟโต้เซ็นเซอร์แบบตัวรับ ตัวส่ง แยกกัน

-โฟโต้เซ็นเซอร์แบบสะท้อนกับวัตถุโดยตรง

3.Rotary Encoders

ตัว Encoders จะมีลักษณะมีแกนเพลายื่นออกมา ทำหน้าที่เชื่อมต่อเพื่อตรวจนับจำนวนการหมุน จากนั้นจึงแสดงผลให้ทราบทาง Output ภายในตัว Encoders จะประกอบไปด้วยเซ็นเซอร์ที่มีลักษณะเป็นจานหมุน

ซึ่งการทำงานของเซ็นเซอร์แต่ละตัวแตกต่างกันออกไปตามประเภทของเซ็นเซอร์นั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นเซ็นเซอร์ตรวจจับ เซ็นเซอร์วัดความเร็ว เซ็นเซอร์นิรภัย หากคุณต้องการปรึกษาการใช้งานที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อการใช้งาน สนใจติดต่อเราเข้ามาได้

🛒https://www.lazada.co.th/shop/joy-lucky-automation-888

🛒https://shopee.co.th/joylucky888

🛒https://joylucky-automation888.com/

มีบริการเทสก่อนรับสินค้าเรายินดีให้คำปรึกษานะคะ🙏

ติดต่อฝ่ายขาย

061-505-5695 คุณพิชิต

090-530-5555 คุณพันธุ์ธัช

ของดี ที่ 📌จอย ลัคกี้ ออโตเมชั่น

เปิดทำการ วันจันทร์-วันเสาร์ 08.30-17.30 น.

พิกัด รามอินทรา 109 ถนนพระยาสุเรนทร์

#จัดส่งทั่วประเทศ#INVERTER#SWITCH#BREAKER#RELAY#POWERSUPPLY#SERVOMOTOR#FILTER#TOWERLIGHT

#SERVO#MOTOR#TOUCHSCREEN#COUNTER#TIMER#TEMPERATURE#CYLINDER#PLC#ขายPLC

#อะไหล่เครื่องจักร#อุปกรณ์นิวเมติก#อินเวอร์เตอร์#อุปกรณ์ไฟฟ้า#พีแอลซี#เซนซอร์#Sensor#แลมป์#Lamp

การทำงานของ PLC

การทำงานของ PLC หรือ Programmable Logic Control (โปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรลเลอร์)

PLC หรือ Programmable Logic Control (โปรแกรมเมเบิล ลอจิก คอนโทรลเลอร์) เป็นตัวควบคุมการทำงานต่างๆโดยมี Microprocessor เป็นตัวสั่งการที่สำคัญ การทำงานเป็นแบบอินพุต-เอาต์พุต สามารถต่อออกไปใช้งานได้ทันที ตัวอินพุตจะต่อตรงเข้ากับตัวตรวจวัดหรือสวิตซ์ และเอาต์พุตต่อออกไปเพื่อควบคุมสั่งการการทำงานของอุปกรณ์หรือเครื่องจักรนั้นๆ เราสร้างวงจรแบบการควบคุมได้โดยการป้อนคำสั่งเข้าไปในPLC

เปรียบการทำงานของ PLC คล้ายกันกับการทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า Solid-State Digital Logic Elements เพื่อให้ทำงานและตัดสินใจแบบลอจิก ใช้สำหรับควบคุมกระบวนการทำงานของเครื่องจักรและอุปกรณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม

โครงสร้าง PLC

เรียกว่าเป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใช้ในงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วย หน่วยประมวลผลการ หน่วยความจำ หน่วยรับข้อมูล หน่วยส่งข้อมูล และหน่อยป้อนข้อมูล PLCขนาดเล็กส่วนประกอบรวมกันเป็น PLC เครื่องเดียว

หน่วยความจำ PLC ประกอบด้วย RAM และ ROM หน่วยความจำชนิด RAM ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมของผู้ใช้การปฏิบัติงาน ส่วน ROM มีหน้าที่เก็บโปรแกรมสำหรับใช้ในการปฏิบัติงานของ PLC

1.RAM (Ramdom Access Memory) หน่วยความจำที่มีแบตเตอรี่เล็กๆต่อไว้ เพื่อเลี้ยงข้อมูลเมื่อไฟดับ เหมาะกับการใช้งานในระยะทดลองหรือเครื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขบ่อยๆ

2.EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) ต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการเขียนโปรแกรมและลบได้โดยใช้แสงอัลตร้าไวโอเลตหรือตากแดดร้อนๆ มีข้อดีตรงโปรแกรมจะไม่สูญหายถ้าไฟดับ เหมาะกับการใช้งานที่ไม่ต้องเปลี่ยนโปรแกรม

3.EEPROM (Electical Erasable Programmable Read Only Memory) หน่วยความจำชนิดนี้ไม่ต้องมีแบตเตอรี่สำรองไฟฟ้า ราคาจะสูงกว่าแต่จะรวมทั้งแต่จะรวมทั้ง RAM และ EPROM

🛒 https://www.lazada.co.th/shop/joy-lucky-automation-888

🛒 https://shopee.co.th/joylucky888

🛒 https://joylucky-automation888.com/

——————————————

มีบริการเทสก่อนรับสินค้าเรายินดีให้คำปรึกษานะคะ🙏🙏

——————————————

ติดต่อฝ่ายขาย

061-505-5695 คุณพิชิต

090-530-5555 คุณพันธุ์ธัช

ของดี ที่ 📌จอย ลัคกี้ ออโตเมชั่น

เปิดทำการ วันจันทร์-วันเสาร์ 08.30-17.30 น.

พิกัด รามอินทรา 109 ถนนพระยาสุเรนทร์

#จัดส่งทั่วประเทศ#INVERTER#SWITCH#BREAKER#RELAY#POWERSUPPLY#SERVOMOTOR#FILTER#TOWERLIGHT

#SERVO#MOTOR#TOUCHSCREEN#COUNTER#TIMER#TEMPERATURE#CYLINDER#PLC#ขายPLC

#อะไหล่เครื่องจักร#อุปกรณ์นิวเมติก#อินเวอร์เตอร์#อุปกรณ์ไฟฟ้า#พีแอลซี#เซนซอร์#Sensor#แลมป์#Lamp

หน้าที่การทำงานของอะไหล่เครื่องจักรแต่ละชนิด


พีแอลซี : Programmable Logic Control

เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องหรือระบบปฎิบัติการต่างๆ เปรียบเหมือนกับคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ PLC จะมีส่วนเป็นอินพุตที่ต่อเข้ากับตัวตรวจหรือสวิตซ์ต่างๆและเอาต์พุตออกต่อไปเพื่อสั่งการทำงานของอุปกรณ์หรือเครื่องจักรได้ทันที


เซ็นเซอร์ : Sensor

ระบบวงจรทำหน้าที่ตรวจวัดตรวจจับปริมาณทางฟิสิกส์ ลักษณะของสิ่งต่างๆโดยรอบเป้าหมาย เช่น การเปลี่ยนตำแหน่ง รูปร่าง ความสูง แล้วนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดเข้าสู่การแจกแจงและวิเคราะห์


อินเวอร์เตอร์ : Inverter

คือระบบควบคุมสั่งการการทำงานของคอมเพรสเซอร์ ซึ่งทำหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) จากแหล่งจ่ายไฟทั่วไปที่แรงดันและความถี่คงที่เป็นไฟกระแสตรง (DC) โดย Converter Circuit จากนั้นไฟกระแสตรงก็จะถูกแปลงเป็นไฟกระแสสลับที่สามารถปรับขนาดแรงดันและความถี่ได้ด้วย Inverter Circuit


ลิมิตสวิตซ์ : Limit Switch

เป็นอุปกรณ์เปิด/ปิดวงจรไฟฟ้าใช้จำกัดและตัดต่อวงจรการทำงานของระบบอัตโนมัติต่างๆ


เบรกเกอร์ : Breaker

การทำงานเปิด/ปิดวงจรไฟฟ้าแบบไม่ใช่ระบบอัตโนมัติ แต่สามารถเปิดวงจรได้อัตโนมัติถ้ามีกระแสไหลผ่านเกินกว่าค่าที่กำหนดเพื่อป้องกันการเกิดความเสียหาย


เคาเตอร์ : Counter

เครื่องนับจำนวน อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการนับชิ้นงาน นิยมใช้ในงานโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆสามารถช่วยนับและตั้งค่าควบคุมจำนวนการผลิตแต่ละครั้งให้ตรงกับความต้องการได้อย่างถูกต้อง


แมกเนติก : Magnetic

อุปกรณ์ตัดต่อวงจรไฟฟ้าโดยใช้หน้าสัมผัสคอนเทรคในการเปิดปิดวงจร สามารถนำไปใช้งานได้หลายอย่าง เช่น วงจรควบคุมมอเตอร์ วงจรควบคุมฮีตเตอร์ วงจรควบคุมแสงสว่าง


ทาวเวอร์ไลท์ : Tower Light

เปรียบได้กับสัญลักษณ์แจ้งเตือนประเภทหนึ่งที่มีลักษณะเป็นชั้นๆ เป็นตัวแสดงสภาวะของการทำงานของเครื่องจักร


พาวเวอร์ ซัพพลาย : Power Supply

เป็นตัวอุปกรณ์หลักที่คอยจ่ายไฟให้กับชิ้นส่วนต่างๆภายในเครื่อง ทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ให้เหลือเพียงแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง(DC) เพื่อจ่ายไฟให้วงจรชิ้นงานต่างๆ


รีเลย์ : Relay

เป็นตัวที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานแม่เหล็ก โดยการป้อนกระแสไฟฟ้าให้กับขดลวดเพื่อเป็นการเปิดหรือปิดหน้าสัมผัสคล้ายกับสวิตซ์อิเล็กทรอนิกส์


เซอร์โว : Servo

เป็นตัวควบคุมการขับเคลื่อน คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับควบคุมมอเตอร์หรือระบบขับเคลื่อนต่างๆด้วยการตรวจสอบสัญญาณจากระบบขับเคลื่อนและปรับค่าให้ถูกต้องตามที่กำหนดไว้อย่างต่อเนือง


โซลินอยด์วาล์ว : Solenoid Valve

คือวาล์วควบคุมทิศทางลมโดยใช้คอยล์ไฟฟ้าสั่งการร่วมกับสปริงหรือคอยล์ไฟฟ้าอีกตัวเมื่อต้องการให้วาล์วอยู่อีกตำแหน่ง


Temperature

หรือตัวควบคุมอุณหภูมิทำหน้าที่วัดค่าสัญญาณ Input เข้ามาจากนั้นจึงทำการเปรียบเทียบกับค่าที่ต้องการแล้วประมาลผลในส่วนของ Processing


สั่งซื้อแบบออนไลน์

🛒 Line: @307ckkxf

🛒https://www.lazada.co.th/shop/joy-lucky-automation-888

🛒https://shopee.co.th/joylucky888

🛒https://joylucky-automation888.com/

—————————————————————-

*มีรับประกันสินค้า

*มีบริการส่ง แมสเซนเจอร์ในเขตกรุงเทพ และปริมณฑล

*มีบริการขนส่งเอกชน KERRY, FLASH สำหรับลูกค้าต่างจังหวัด

—————————————————————-

**เรายินดีให้คำปรึกษา🙏🙏

ติดต่อฝ่ายขาย

061-505-5695 คุณพิชิต

090-530-5555 คุณพันธุ์ธัช

064-942-4558 คุณเพกันต์

ของดี ที่ 📌จอย ลัคกี้ ออโตเมชั่น

—————————————————————-

ฝากกดไลท์+กดแชร์เพจด้วยนะคะ

เปิดทำการ วันจันทร์-วันเสาร์ 08.30-17.30 น.

พิกัด รามอินทรา 109 ถนนพระยาสุเรนทร์

#จัดส่งทั่วประเทศ

#INVERTER#SWITCH#BREAKER#RELAY#POWERSUPPLY#SERVOMOTOR#FILTER#TOWERLIGHT#SERVO#MOTOR

#TOUCHSCREEN#COUNTER#TIMER#TEMPERATURE#CYLINDER#PLC#ขายPLC#อะไหล่เครื่องจักร#อุปกรณ์นิวเมติก#อินเวอร์เตอร์#อุปกรณ์ไฟฟ้า#พีแอลซี#เซนซอร์#Sensor